วันจันทร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การเขียนบันทึก

การเขียนบันทึก

การเขียนบันทึก
     การเขียนบันทึก คือ การเขียนบันทึกข้อมูลที่เป็นประสบการณ์ความรูหรือข้อความสำคัญในการจดบันทึก ต้องบอกแหล่งที่มาหรือวัน เวลา ที่จดบันทึกได้ด้วย
   ประเภทของการเขียนบันทึก มี ๒ ประเภท ดังนี้
   ๑.การเขียนบันทึกเหตุการณ์ เป้นการเขียนเรื่องราวที่ได้พบเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อเป้นการบันทึกความรู้ เตือนความจำบรรยาย ความรุ้สึก หรือแสดงข้อคิดเห็น
    สิ่งที่ต้องมีในการเขียนบันทึกเตการณ์ คือ
   ๑.วัน เดือน ปี ที่บันทึก
   ๒.แหล่งที่มาของเรื่องราวที่ได้พบเห้นมา
   ๓.บันทึกเรื่อง โดยสรุปย่อสาระสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตน ซึ่งอาจจะแสดงข้อคิดเห็น และสรุปไว้ด้วย การเขียนบันทึกจากการค้นคว้า เป็นการสร้างนิสัยรักการอ่าน ฝึกย่อความป้องกันการลืม และประหยัดเวลา
     ข้อควรปฏิบัติในการเขียนบันทึก 
   ๑.ทำความเข้าใจ เรียงลำดับความคิดและเนื้อเรื่อง
   ๒.บันทึกด้วยสำนวนภาของตนเอง ให้อ่านง่ายและเป้นระเบียบ
   ๓.บันทึกเฉพาะสาระสำคัญ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม เป้นต้น
   ๔.ฝึกบันทึกอย่างรวดเร้ว เช่น ใช้เครื่องหมายและอักษรย่อ ขีดเส้นใต้หัวข้อและประเด็นสำคัญ
     วิธีการเขียนบันทึก
   ๑.ลำดับความให้เชื่อมต่อเนื่องกัน ไวกวน เช่น
  -ตอนบ่ายงาวงนอนดูทีวีจนดึก จึงนั่งสัปหงก มาลีชวนไปเล่นวิ่งเปี้ยวเลยหายง่วง เลิกเรียน แล้วกลับบ้าน และช่วยคุณแม่ทำกับข้าว กลางคืนทำการบ้านเสร็จ แล้วรีบเข้านอน
  ๒.ลำดับเหตุการณ์ เช่น
  -วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๑.00 น. เสียงร้องเพลงดังรบกวนขณะแนกำลังนั่งดูโทรทัศน์ เวลา ๑๑.๓0 น.เสียงร้องเพลงดังกว่าเดิม จึงตะดกนถามและบอกให้ลดเสียง เวลา ๑๑.๔0 น.เสียงร้องเพลงดังกว่าเดิมเหมือนจงใจจะแกล้งฉันเลยหยุดดูโทรทัศน์ ไปทำงานอื่นแทน
    การเชื่อมโยง เช่น
  -ตอนสายเสียงร้องเพลงดัง เวลาต่อมาเสียงร้องเพลงดังมากขึ้น
     การเน้นใจความสำคัญ เช่น
  -เริ่มเรื่องร้องเพลงเสียงดัง ตะโกนถามผล เสียงร้องดังขึ้นสรุป เลิกดูดทรทัศน์หันไปทำงานอื่น ปล เหตุการณ์สงบ

แหล่งอ้างอิง http://www.okmation.net/
     

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น